share

รู้หรือไม่??? คุณแม่ตั้งครรภ์อายุต่ำกว่า 35 ปี ก็มีความเสี่ยงที่จะมีลูกเป็นดาวน์ซินโดรมได้

115 Views
รู้หรือไม่??? คุณแม่ตั้งครรภ์อายุต่ำกว่า 35 ปี ก็มีความเสี่ยงที่จะมีลูกเป็นดาวน์ซินโดรมได้

ในประเทศไทย แต่ละปีมีหญิงตั้งครรภ์ประมาณ 800,000 ราย ในจำนวนนี้ให้กำเนิดทารกที่เป็นดาวน์ซินโดรมประมาณ 800-1,000 ราย
นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ได้แนะนำให้หญิงที่ตั้งครรภ์วัย 35 ปีขึ้นไป เข้ารับการเจาะน้ำคร่ำ เพื่อตรวจโครโมโซมของทารกในครรภ์ เนื่องจากเป็นกลุ่มมีความเสี่ยงสูงที่ทารกในครรภ์จะมีโครโมโซมผิดปกติ แต่จากการเก็บสถิติของเด็กที่เป็นดาวน์ซินโดรม กลับพบว่าร้อยละ 75-80 เป็นเด็กที่เกิดจากแม่ที่อายุน้อยกว่า 35 ปี

บทความที่เกี่ยวข้อง
ไขข้อสงสัย ตรวจดาวน์ซินโดรม อายุครรภ์กี่สัปดาห์ วิธีไหนเร็วที่สุด?
ดาวน์ซินโดรม (Down Syndrome) คืออะไร?​ ตรวจดาวน์ซินโดรมมีแบบไหนบ้าง? จำเป็นไหม? ตรวจดาวน์ซินโดรม อายุครรภ์กี่สัปดาห์? วิธีไหนเร็วที่สุด? อ่านได้ที่นี่เลย
รู้จักกับการ “ตรวจ NIPT” วิธีคัดกรองความผิดปกติของโครโมโซมทารกในครรภ์
ตอบครบทุกคำถามการ ตรวจ NIPT คืออะไร? ตรวจ NIPT อายุครรภ์กี่สัปดาห์? บอกอะไรได้บ้าง? ราคาเท่าไหร่? กี่วันรู้ผล?​ เบิกประกันได้ไหม? ยี่ห้อไหนดี? อ่านได้ที่นี่เลย
รู้จักกับ Quadruple Test (QT) หนึ่งในวิธีตรวจคัดกรองดาวน์ซินโดรมยอดนิยม
การตรวจคัดกรองดาวน์ซินโดรมด้วยวิธี Quadruple Test (QT) คืออะไร? ตรวจได้ตอนกี่สัปดาห์? มีความแม่นยำเท่าไหร่? ผลเสี่ยงสูงต้องทำยังไงต่อ? หาคำตอบได้ที่นี่เลย
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ นโยบายคุกกี้
เปรียบเทียบสินค้า
0/4
ลบทั้งหมด
เปรียบเทียบ
Powered By MakeWebEasy Logo MakeWebEasy